American vs Japanese Denim

เดนิมญี่ปุ่น VS เดนิมอเมริกัน (ความแตกต่างของสองคำนี้)

เมื่อพิจารณาชุดทำงานสีฟ้าโดยเฉพาะของหนุ่มๆ เดนิมจะกลายเป็นหลักสำคัญของเสื้อผ้าระดับโลกทันที เดนิมเคยเป็นที่นิยมเป็นอย่างมากในเมืองใหญ่อย่าง สหรัฐอเมริกาในปี 1950 จนกลายเป็นสัญลักษณ์ของคนทำงานไปเลย  หลังจากนั้นในช่วงปลายปี 1980 เดนิมก็ได้กลายเป็นเเฟชั่นชั้นนำหลักๆ ที่เห็นได้บนรันเวย์ในสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก

เพราะความจำกัดด้านจำนวนโรงงานในสหรัฐอเมริกาที่ผลิตผ้า ผ้าส่วนมากที่ผลิตในสหรัฐอเมริกามาจากแหล่งเดียวกันทั้งนั้น – นั่นคือโรงงาน Cone ผลิตกางเกง อยู่ทางตอนเหนือของแคโรลิน่า ด้วยเหตุผลนี้เอง รูปแบบการเฟดเดนิมในสหรัฐอเมริกาจึงเหมือนๆกันและมีความมั่นคงกว่าอื่นๆ ในขณะที่บางคนก็ชอบแบบคลาสสิคของเดนิมอเมริกามากกว่า ที่กำลังมองหาความหลากหลายของสี เนื้อผ้า การเฟด มากกว่าเดนิมอเมริกันแบบพื้นๆ อาจจะมองหาแหล่งอื่นด้วยตนเองเช่นกัน

นี่คือ เดนิมญี่ปุ่น ที่จะเข้ามาช่วย! ไม่ใช่ปลอมมาจากอเมริกา แต่โรงงานเดนิมของญี่ปุ่นมีความกล้าและท้าลายด้านการผลิตมากกว่าและต้องหาวิธีการผลิตที่แตกต่างในด้านสี รูปแบบการเฟดและเนื้อผ้า

เรื่องของสี

ญี่ปุ่นมีการทดลองการย้อมผ้ามาอย่างยาวนาน ก่อนจะมีเดนิมด้วยซ้ำ ประวัติศาสตร์มากมายในการย้อมสีผ้าย้อนไปจนถึงการผลิต kimonos เมื่อร้อยกว่าปีที่ผ่านมา ด้วยภูมิหลังนี้เอง ทำให้โรงงานเดนิมหลายๆแห่งในญี่ปุ่น มีแนวโน้มในการทดลองเรื่องสีมากขึ้น ผลของนวัตกรรมเหล่านี้ก็อย่างเช่น ผ้าสีครามโอบด้วยสีดำและย้อมธรรมชาติด้วยลูกพลับ

การเฟดในเดนิมอเมริกันนั้นสม่ำเสมอและคงเส้นคงววากว่า มันให้สีวินเทจและความรู้สึกที่มีต่อยีนส์พวกนั้น เฉดสีน้ำเงินพัฒนาจากตัวที่ใส่ดีของเดนิมอเมริกัน สามารถเตือนเราได้อย่างง่ายดายจากรูปแบบการเฟดแบบคลาสสิคของมัน เมื่อเทียบกับการเฟดที่มีความแตกต่างสูงที่เดนิมญี่ปุ่นผลิต (แน่นอนว่านี่ขึ้นอยู่กับความถี่ในการซักเดนิมด้วย!) เดนิมอเมริกันที่ย้อมด้วยสีครามปกติเเล้วจะย้อมแบบธรรมชาติมากกว่าย้อมแบบสังเคราะห์ การผลิตแบบคงเส้นคงวาและคุณภาพของการเฟด ที่ช่วยให้มันดูคลาสสิคมากขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป

เนื้อผ้า

เป็นเพราะอิทธิพลของโรงงานกางเกง Cone ในอเมริกา เดนิมที่นำเส้นใยไวท์โอ๊คของ Cone ไปใช้ จะค่อนข้างคงเส้นคงวาในด้านข้องรูปลักษณ์และเนื้อผ้า เดนิมผลิตโดยโรงงาน Cone มีการถักทอโดยใช้เครื่องทอผ้าวินเทจ –  Draper x3 ของอเมริกา ย้อนไปในปี 1940 เดนิมถูกผลิตขึ้นจากเครื่องทอผ้าโบราณรุ่น Draper x3 ที่โดยทั่วไปแล้วจะเรียบกว่าและมีพื้นผิวที่นิ่มกว่าเมื่อเทียบกับเดนิมญี่ปุ่น ประสิทธิภาพนี้เป็นคุณสมบัติของการกระโดดของกลไกพื้นไม่เนื้อแข็งของไวท์โอ๊คในขณะที่ใช้งาน ความจริงก็คือมันยังมีอีกหลายข้อสันนิษฐานที่เปนไปได้

เดนิมญี่ปุ่นในอีกด้านคือถักทอมาจากเครื่องทอผ้า Toyodaที่ให้ผลลัพธ์ของความหยาบและความสม่ำเสมอของเนื้อผ้าที่ลดลง เดนิมญี่ปุ่นจะมีความแข็งมากกว่ายีนส์ทั่วไป สมแล้วที่จะเป็นลูมสเตท หรือไม่เปลี่ยนเลยจากเครื่องทอผ้า  มันจะไม่หดตัวจากการซักหรือหรือชุบ  มันคือเดนิมบริสุทธิ์  ความแข็งแกร่งที่หายไปกับความถี่ในการซักหมายความว่าเดนิมจะถูกทำลายใากขึ้นไปตามช่วงเวลา  แต่อย่างหนึ่งที่จะเป็นแบบคือผิวคุณและมันจะดีขึ้นเรื่อยๆทุกครั้งที่ใส่

น้ำหนัก

องค์ประกอบที่ยอดเยี่ยมอีกอันของเดนิมญี่ปุ่นที่จะต้องนำเสนอเลยคือ น้ำหนักของผ้าที่มีความหลากหลายที่ผลิตจากโรงงานเดนิมเหล่านั้น ในขณะที่โรงงานญี่ปุ่นผลิตเดนิมที่มีน้ำหนักมาก เดนิมส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 20 ออนซ์ หรือมากกว่านั้นที่มาจากญี่ปุ่น เดนิมญี่ปุ่นมีช่วงที่กว้างกว่าของตัวเลือกความพึงพอใจสำหรับความชอบที่หลากหลายของคนรักเดนิม ในการเปรียบเทียบเดนิมไฮเอนด์ของอเมริกาส่วนใหญ่อยู่ที่ประมาณ 14 ออนซ์เท่านั้น

แล้วแบบไหนดีกว่าล่ะ?

สุดท้ายแล้ว ทุกอย่างก็ขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละคน บางคนชอบแบบคลาสสิคและวินเทจให้ความรู้สึกของเดนิมอเมริกา ในขณะที่บางคนชอบความหลากหลายของเนื้อผ้า น้ำหนัก และสี ก็จะเลือกเป็นเดนิมญี่ปุ่น

ก็ยังคงไม่ชัดเจนว่าอันไหนชนะที่จะเป็นผ้าที่ดีกว่า อย่างไรก็ตาม หากคุณกำลังมองหาความหลากหลายให้กับตู้เสื้อผ้าเดนิมของคุณ เดนิมญี่ปุ่นคือสิง่ที่คุณตามหา  ความหลากหลายของเนื้อผ้า น้ำหนัก และสี ทำให้โลกขอคุณมีความเป็นไปได้

หากคุณต้องการจะดูแบรนด์เดนิมญี่ปุ่นที่เข้ากับคุณลองดูที่ ร้านเดนิมญี่ปุ่น ของเราที่มีรายการแบรนด์ต่างๆมากมาย